• TH
  • EN
  • สมัครเรียน
  • คณะและหน่วยงานภายใน
  • หลักสูตร
    • ปริญญาตรี
    • ปริญญาโท
    • ปริญญาเอก
    • ประกาศนียบัตรบัณฑิต
    • บัณฑิตวิทยาลัย
  • เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยฯ
    • ประวัติมหาวิทยาลัยฯ
    • สัญลักษณ์และสี
    • วิสัยทัศน์พันธกิจ
    • โครงสร้างการบริหาร
    • คณะผู้บริหาร
    • วัตถุประสงค์/เป้าประสงค์
    • ประเด็นยุทธศาสตร์
    • แผนบริหารความเสี่ยง
    • แผนปฏิบัติราชการ
    • แผนยุทธศาสตร์
    • เพลงประจำมหาวิทยาลัยฯ
    • แผนที่มหาวิทยาลัยฯ
    • ลิงค์ภายนอก
    • พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
  • ITA
  • SDG
  • ติดต่อเรา

สารสนเทศสำหรับนักศึกษา

การดำเนินการเกี่ยวกับ
งานทะเบียนและประมวลผล

  • 1.การทำบัตรประจำตัวนักศึกษา
  • 2.การขอเปลี่ยนชื่อสกุล
  • 3.การลงทะเบียนเรียนตามแผนการเรียน
  • 4.ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียนออนไลน์
  • 5.การขอสอบภายหลังกรณีขาดสอบปลายภาค
  • 6.การขอลาพักการเรียน
  • 7.การลงทะเบียนรักษาสภาพนักศึกษา
  • 8.การขอคืนสภาพนักศึกษา
  • 9.การขอโอนผลการเรียน
  • 10.การขอเทียบโอนผลการเรียน
  • 11.การขอเปลี่ยนสาขาวิชา
  • 12.การย้ายคณะ
  • 13.การขอโอนย้ายสถานศึกษา
  • 14.การลาออก
  • 15.การติดตามผลการเรียน
  • 16.การออกใบรับรองและเอกสารทางการศึกษา
  • 17.ขั้นตอนในการขอใบรับรอง
  • 18.คำอธิบายความหมายของรายวิชาเรียน
  • 19.คำอธิบายความหมายของรหัสประจำตัวนักศึกษา
  • 20.การพ้นสภาพนักศึกษา
  • 21.นโยบายเว็บไซต์และการปฎิเสธความรับผิดชอบ
  • 22.การขอรับปริญญาบัตร(ไม่เข้ารับในพิธี)
  • 23.ขอเอกสารทางการศึกษา

คำอธิบายความหมายของรายวิชาเรียน


ชื่อรายวิชาเรียนประกอบด้วย รหัสวิชา ชื่อวิชา จำนวนหน่วยกิจ จำนวนชั่วโมงเรียนและจำนวนชั่วโมงในการศึกษาด้วยตัวเอง ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่างรายวิชาเรียนที่ 1 

รหัสวิชา                          ชื่อวิชา                                  จำนวนหน่วยกิต

1400004             เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต                     3(2-2-5)

ความหมายของจำนวนหน่วยกิต

เลขตัวแรก  3(2-2-5) คือจำนวนหน่วยกิจที่ลงทะเบียน

เลขตัวแรกในวงเล็บ 3(2-2-5) คือ จำนวนชั่วโมงเรียนทฤษฎีต่อสัปดาห์

เลขตัวที่สองในเวงเล็บ 3(2-2-5) คือ จำนวนชั่วโมงเรียนปฏิบัติต่อสัปดาห์

เลยตัวที่สามในวงเล็บ 3(2-2-5) คือ จำนวนชั่วโมงที่นักศึกษาควรศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองต่อสัปดาห์

ตัวอย่างรายวิชาเรียนที่ 2 

รหัสวิชา                          ชื่อวิชา                                  จำนวนหน่วยกิต

1632205             การบริหารอินเทอร์เน็ต                          3(3-0-6)

ความหมายของจำนวนหน่วยกิต

เลขตัวแรก                   3(3-0-6) คือจำนวนหน่วยกิจที่ลงทะเบียน

เลขตัวแรกในวงเล็บ     3(3-0-6) คือ จำนวนชั่วโมงเรียนทฤษฎีต่อสัปดาห์

เลขตัวที่สองในเวงเล็บ 3(3-0-6) คือ จำนวนชั่วโมงเรียนปฏิบัติต่อสัปดาห์ ในที่นี้หมายความว่าไม่มีการเรียนปฏิบัติ

เลยตัวที่สามในวงเล็บ 3(3-0-6) คือ จำนวนชั่วโมงที่นักศึกษาควรศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองต่อสัปดาห์

ตัวอย่ารายวิชาเรียนที่ 3

รหัสวิชา                          ชื่อวิชา                                  จำนวนหน่วยกิต

1632205             การบริหารอินเทอร์เน็ต                          3(3-0-6)

ความหมายของจำนวนหน่วยกิต

เลขตัวแรก                   3(300) คือจำนวนหน่วยกิจที่ลงทะเบียน

เลขตัวแรกในวงเล็บ     3(3-0-6) คือ จำนวนชั่วโมงฝึกงาน

การคำนวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ย

การคำนวณระดับคะแนนเฉลี่ยในแต่ละภาคเรียน ให้คำนวณดังนี้

  1. คูณจำนวนหน่วยกิจกับแต้มระดับคะแนนของแต่ละรายวิชาที่ได้ระดับคะแนน(ยกเว้น S,U,I,W,AU)
  2. นำผลคูณของทุกรายวิชามารวมกันแล้วหารด้วยจำนวนหน่อยกิตรวมของภาคการเรียนนั้น (รายวิชาที่ได้ผลการเรียนเป็น I ไม่ต้องนำหน่วยกิตมาเป็นตัวหาร)
  3. ให้ตั้งหารถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 และให้ปัดเศษนิยมตำแหน่งที่ 3 ที่มีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไปเพื่อให้เหลือทศนิยม 2 ตำแหน่ง

การคำนวณระดับคะแนนเฉลี่ยงสะสมทุกภาคเรียน ให้คำนวณดังนี้

  1. รวมผลคูณจำนวนหน่วยกิตกับแต้มระดับคะแนนของแต่ละรายวิชาในทุกภาคเรียน
  2. นำผลรวมจากข้อ 1 ตั้งหารด้วยจำนวนหน่วยกิจรวมทั้งหมด
  3. ให้ตั้งหารถึงทศนิยมตำแหน่งที่ 3 และให้ปัดเศษทศนิยมตำแหน่งที่ 3 ที่มีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไปเพื่อให้เหลือทศนิยม 2 ตำแหน่ง

ตัวอย่าง

ภาคเรียนที่ 1 สมมติให้นาย ก มีผลการเรียนดังต่อไปนี้

ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสำหรับภาคเรียนที่ 1 ที่นาย ก. ทำได้คือ 31.5/14 =2.25

 

ภาคเรียนที่ 2 สมมติให้นาย ก มีผลการเรียนดังต่อไปนี้

ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสำหรับภาคเรียนที่ 2 ที่นาย ก. ทำได้คือ 39.5/11 =3.59

 

เมื่อสิ้นสุดภภาคเรียนที่ 2 

นาย ก มีหน่วยกิตสะสม (ง) ทั้งหมด 11+11 =22

นาย ก มีหน่วยกิจสะสมสำหรับคำนวณค่าระดับคะแนนสะสม (จ ) ทั้งหมด 14+11 = 25

นาย ก มีค่าระดับคะแนน (ฉ ) ทั้งหมด 31.5 + 39.5 = 71.0/25

ดังนั้นนาย  ก  มีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยงสะสมเมื่อสิ้นสุดภาคเรียนที่ 2  = 2.84

การละทะเบียนเรียนเพื่อเปลี่ยนระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม

 ถ้านักศึกษาเรียนรายวิชาต่างๆ ได้หน่วยกิตที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแล้วแต่ได้รับคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 1.80 แต่ไม่ถึง 2.00 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนเพิ่มเติมเพื่อให้ได้คะแนนเฉลี่ยถึง 2.00 ทั้งนี้ต้องอยู่ในระยะเวลาที่กำหนดสภาพการเป็นนักศึกษาของการจัดการศึกษานั้น ๆ เช่น หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปีกำหนดให้เรียนได้ไม่เกิน 16 ภคเรียน สำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา โดยขั้นตอนการละทะเบียนให้ดำเนินการเช่นเดียวกับการลงทะเบียนเรียนเพิ่ม เรียนแก้ ทุกประการ

 

 

 

 

บริการอื่นๆ

  • ประเมินอาจารย์
  • แบบประเมินเว็บไซต์
  • แบบฟอร์มดาวน์โหลด
  • FAQ.
  • พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ระเบียบอัตราค่าเล่าเรียน

  • *อัตราค่าเล่าเรียน

งานติดต่อ

  • แผนที่มหาวิทยาลัยฯ
  • งานประชาสัมพันธ์
  • กองพัฒนานักศึกษา

ติดตามเราได้ที่

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 80 ถนนนครสวรรค์ ต.ตลาด อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000
โทรศัพท์ : 08-1747-8385 , 08-0837-6075 , 06-1404-2390 | อีเมล saraban@rmu.ac.th

เลขประจำตัวผู้เสียภาษี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 0-9940-00401-50-7


ประกาศข่าวที่นี่ | แจ้งปัญหาเว็บไซต์ | ติดต่อผู้พัฒนา | เว็บไซต์เก่า | Disclaimer & Website Policy
view 8,504,355
ข้อมูลการเยี่ยมชมเว็บไซต์(Google Analytics)

@ Copyright 2018 RMU. All Rights Reserved

  • หน้าหลัก
  • ประวัติมหาวิทยาลัยฯ
  • คณะและหน่วยงานภายใน
  • แผนที่มหาวิทยาลัยฯ
  • Home
  • สมัครเรียน
  • คณะและหน่วยงาน
  • หลักสูตร
    • ปริญญาตรี
    • ปริญญาโท
    • ปริญญาเอก
    • ประกาศนียบัตรบัณทิต
    • บัณฑิตวิทยาลัย
  • เกี่ยวกับมหาวิทยาลัย
    • ประวัติมหาวิทยาลัยฯ
    • สัญลักษณ์และสี
    • วิสัยทัศน์พันธกิจ
    • โครงสร้างการบริหาร
    • คณะผู้บริหาร
    • วัตถุประสงค์/เป้าประสงค์
    • ประเด็นยุทธศาสตร์
    • แผนบริหารความเสี่ยง
    • แผนปฏิบัติราชการ
    • แผนยุทธศาสตร์
    • เพลงประจำมหาวิทยาลัยฯ
    • แผนที่มหาวิทยาลัยฯ
    • ลิงค์ภายนอก
    • พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
  • ITA
  • SDG
  • ติดต่อเรา